ห้องปฏิบัติการคณะวิศวกรรมศาสตร์


Snow

Basic Workshop

Snow

Automotive Lab

Snow

CAD/CAM/FEM Lab

Snow

Chemistry Lab

Snow

Computer Numerical Control Lab

Snow

Digital Electronics Lab

Snow

Dynamometer Lab

Snow

Power Electronics Research Lab

Snow

Electrical Circuit Lab

Snow

Embedded Lab

Snow

Material Engineering Lab

Snow

Material Engineering Lab

Snow

Metrology Lab

Snow

Metrology Lab

Snow

Mold & Die and Plastic Injection Lab

Snow

Mold & Die and Plastic Injection Lab

Snow

Engineering Physics Lab

Snow

PLC Lab

Snow

Tool Room

Snow

Tool Room

ห้องวิจัยคณะวิศวกรรมศาสตร์


ความเป็นมาของการจัดตั้งห้องวิจัยระบบอิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ

ด้วยมโนทัศน์ใหม่ของการออกแบบนวัตกรรมระบบและอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ในงานวิจัยและการประยุกต์ใช้สำหรับงานอุตสาหกรรมในปัจจุบัน ได้เปลี่ยนผ่านจากมุมมองของระบบที่เป็นเชิงเส้นและตายตัว เข้าสู่ระบบพลวัตที่ไม่เป็นเชิงเส้น รวมทั้งเป็นระบบอัจฉริยะ สามารถเรียนรู้จดจำ และสามารถปรับตัวเอง ซึ่งส่งผลให้สามารถนำมาประยุกต์ใช้งานในรูปแบบของระบบสมองกลฝังตัว และเหมาะสมต่อการพัฒนาบนเทคโนโลยีทรานซิสเตอร์ขนาดเล็กได้เป็นอย่างดี องค์ความรู้ประกอบการศึกษาและออกแบบอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์แบบอัจฉริยะดังกล่าว ประกอบด้วย ทฤษฏีความไม่เป็นเชิงเส้น ทฤษฎีความอลวน ทฤษฏีโครงข่ายประสาทเทียม ทฤษฏีระบบควมคุม และองค์ความรู้ด้านการออกแบบระบบและวงจรอิเล็กทรอนิกส์ด้วยเทคโนโลยีซีมอส รวมทั้งการประยุกต์ใช้อุปกรณ์ไมโครคอนโทรลเลอร์และเอฟพีจีเอ ตัวอย่างเบื้องต้นของการประยุกต์ใช้งานได้จริงแล้ว ได้แก่ ระบบควบคุมพลังงานในอาคารแบบฉลาด ระบบการสื่อสารความปลอดภัยสูง และระบบอิเล็กทรอนิกส์ทางการแพทย์อัจฉริยะ ดังนั้นการออกแบบอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์แบบอัจฉริยะ จึงเป็นหัวข้อวิจัยที่กำลังเป็นที่สนใจอย่างแพร่หลาย โดยจะเห็นว่า สัดส่วนของผลงานวิจัยที่ตีพิมพ์ในฐานข้อมูลมีจำนวนค่อนข้างมาก เนื่องจากมีทิศทางในการพัฒนาหัวข้อวิจัยใหม่ๆ ซึ่งเป็นที่สนใจของบริษัทต่างๆในการพัฒนาเทคโนโลยีเกิดใหม่สำหรับโอกาสในธุรกิจในอนาคต การจัดตั้งห้องวิจัยระบบอิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ จะเป็นศูนย์กลางในการบูรณาการการเรียนรู้เข้ากับงานวิจัย ซึ่งจะสามารถสนับสนุนการพัฒนาการวิจัยและการเรียนการสอนของสถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น ในสามด้านหลัก โดยประการแรก คือ มีห้องวิจัยขั้นสูง ด้านวิศวกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ สำหรัหลักสูตรวิศวกรรมศาสตร์มหาบัณทิตสาขาเทคโนโลยีวิศวกรรม อันจะส่งผลให้มีการผลิตผลงานวิจัย ในรูปแบบรายงานการวิจัยในวารสารทางวิชาการ และการจดสิทธิบัตรนวัตกรรมใหม่ในอนาคต ประการที่สองคือมีการบูรณาการองค์ความรู้ใหม่และทักษะทางปฏิบัตการเชิง เทคโนโลยีในการเรียนการสอนด้วยปรัชญา “ โมโนซูคุริ ” ตามนโยบายของสถาบัน ประการสุดท้าย คือ สามารถให้บริการทางวิชาการสำหรับภาคอุตสาหกรรมและบริษัทต่างๆ ในการให้คำปรึกษาหรือการออกแบบระบบ

Research Center of Advanced Energy Technology (RCAET) was officially established in 2011. RCAET is consisted of 3 research laboratories; namely, Fuel Cell Research Laboratory, Advanced Material Labortory, Energy Conservation Management Laboratory.
Recently, main research are focused in 6 topics; Fuel Cell, Energy Policy, Carbon Technology, Energy conservation and Building Management, Electric Vehicles, and Quality Inspection.

Field Research : Biocoke (Bio-solid Fuel), Porous Materials, Composite Materials, Wastewater Treatment

Field Research : Theoretical and Computational Analysis of Solids, Fluid, and Heat Transfer; Mathematical Modelling

Field Research : Applied Advanced Electromagnetism (Medical Engineering, Power Electronics and Electric Drives)

Field Research : Automation Manufacturing, Precision Measurement, Process Design by Simulation, TPM, TPS, TQM. Advanced Industrial Engineering & Technology is a research laboratory of engineering faculty, Thai-Nichi Institute of Technology (TNI). Our researches focus on Automation Manufacturing, Precision Measurement, Process Design by Simulation, Condition Monitoring, System Integration, TPM, TPS, TQM, and Engineering Economics.

Field Research : Mechatronic system for Machine tools, Virtual Machining CAD CAM, CAE for Mold and Die Technology,Materials Engineering.

ห้องวิจัยวิศวกรรมคอมพิวเตอร์หุ่นยนต์และเทคโนโลยี